นิทานเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง หมู่บ้านเห็ดหอม
ยังมีหมู่บ้านเล็กๆแห่งหนึ่ง ชื่อว่าหมู่บ้านเห็ดหอม
ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเพาะเห็ดหอม และเห็ดอื่นๆอีกมากมาย
ชุมชนเห็ดหอมอยู่อย่างพึ่งพาอาศัยกัน มีกินมีใช้ไม่ขัดสน
ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเพาะเห็ดหอม และเห็ดอื่นๆอีกมากมาย
ชุมชนเห็ดหอมอยู่อย่างพึ่งพาอาศัยกัน มีกินมีใช้ไม่ขัดสน
วันหนึ่งมีพ่อค้าจากต่างแดนนำเอาของวิเศษ
เข้ามาเสนอขายในราคาแสนแพง
เข้ามาเสนอขายในราคาแสนแพง
ของสิ่งนั้นเอาไว้ติดต่อพูดคุยกันโดยไม่ต้องเห็นหน้า
และจะพกไปไหนมาไหนก็สะดวก
และจะพกไปไหนมาไหนก็สะดวก
ครอบครัวนายเหมือน ภรรยาชื่อนางมั่ง ลูกสาวชื่อหนูมี
ก็อยากได้ของวิเศษไว้ใช้ แต่เพราะรายได้น้อย
จึงยอมเป็นหนี้เพื่อให้ได้ของวิเศษมาใช้
ก็อยากได้ของวิเศษไว้ใช้ แต่เพราะรายได้น้อย
จึงยอมเป็นหนี้เพื่อให้ได้ของวิเศษมาใช้
สองผัวเมีย และลูกไม่เป็นอันทำงาน
ได้แต่เดินอวด พูดโชว์ ไปวันๆ
ได้แต่เดินอวด พูดโชว์ ไปวันๆ
เห็ดที่เพาะไว้ถูกทอดทิ้ง เหี่ยวเฉา
รายได้ก็ไม่มี ค่าพูดก็ต้องจ่าย เงินทองที่สะสมไว้เริ่มร่อยหรอ
ต้องไปกู้หนี้ยืมสินมาเพิ่ม
ต้องไปกู้หนี้ยืมสินมาเพิ่ม
ฝ่ายหนูมีผู้เป็นลูกสาว ตั้งแต่มีของวิเศษก็กลายเป็นดาวเด่น
เป็นที่สนใจของชายหนุ่ม เพราะต่างก็มีของวิเศษ
เอาไว้เกี้ยวพาราสี จนไม่เป็นอันเรียนหนังสือ
เป็นที่สนใจของชายหนุ่ม เพราะต่างก็มีของวิเศษ
เอาไว้เกี้ยวพาราสี จนไม่เป็นอันเรียนหนังสือ
เมื่อเอาแต่ใช้จ่าย เงินที่มีอยู่ก็ลดน้อยลง
รายได้ก็ไม่มี แต่ค่าใช้จ่ายกลับเพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็น
เมื่อไม่สามารถหาเงินมาใช้หนี้ สมบัติที่มีอยู่ก็ถูกยึด
ทั้งบ้าน และฟาร์มเห็ด ก็ไม่เหลืออีกแล้ว
รายได้ก็ไม่มี แต่ค่าใช้จ่ายกลับเพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็น
เมื่อไม่สามารถหาเงินมาใช้หนี้ สมบัติที่มีอยู่ก็ถูกยึด
ทั้งบ้าน และฟาร์มเห็ด ก็ไม่เหลืออีกแล้ว
ครอบครัวนายอู้ฟู่ ครอบครัวนายระเริง
และอีกหลายบ้านที่ยอมเป็นหนี้เพื่อซื้อของวิเศษที่เกินความจำเป็น
ทั้งๆที่กว่าจะได้เงินมาต้องปลูกเห็ด ขายเห็ดจำนวนมาก
ทำให้ ค ร อ บ ค รั ว เกิด ปั ญ ห า
เมื่อหลายๆครอบครัวมีปัญหา หมู่บ้านก็มีปัญหา
และก็อ่อนแอลงเรื่อยๆ เพราะรากฐานถูกทำลาย
ทั้งๆที่กว่าจะได้เงินมาต้องปลูกเห็ด ขายเห็ดจำนวนมาก
ทำให้ ค ร อ บ ค รั ว เกิด ปั ญ ห า
เมื่อหลายๆครอบครัวมีปัญหา หมู่บ้านก็มีปัญหา
และก็อ่อนแอลงเรื่อยๆ เพราะรากฐานถูกทำลาย
ข้อคิดจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง :
ครอบครัวนายเหมือน มั่ง มี
ไม่รู้จักประมาณตน (ซื้อของมาใช้ทั้งๆที่มีไม่ได้ประโยชน์)
ไม่ใช้เหตุผลในการพิจารณา
ขาด เงื่อนไขความรอบคอบ ในการใช้จ่าย
และขาดภูมิคุ้มกัน (ไม่ออมเงินไว้ใช้ในยามจำเป็น)
ทำให้ครัวครัวเดือดร้อน
ไม่รู้จักประมาณตน (ซื้อของมาใช้ทั้งๆที่มีไม่ได้ประโยชน์)
ไม่ใช้เหตุผลในการพิจารณา
ขาด เงื่อนไขความรอบคอบ ในการใช้จ่าย
และขาดภูมิคุ้มกัน (ไม่ออมเงินไว้ใช้ในยามจำเป็น)
ทำให้ครัวครัวเดือดร้อน